จิตวิทยา หมายถึง การศึกษาที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและกระบวนการทางจิตต่างๆของสิ่งมีชีวิต เพื่อให้สามารถควบคุมพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้
พฤติกรรมของมนุษย์แบ่งได้เป็น 2 ประเภท 1.
พฤติกรรมภายนอก 2. พฤติกรรมภายใน
จุดมุ่งหมายของจิตวิทยา
เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์
เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์
เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายพฤติกรรม
เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถอธิบายพฤติกรรม
เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถควบคุมพฤติกรรม
ประโยชน์ของจิตวิทยา
ทำให้เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์
ทำให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์
ทำให้เข้าใจและรู้พื้นฐานของสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์
ทำให้เข้าใจการสัมผัสและการรับรู้
ทำให้ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ
ทำให้เข้าใจสิ่งสำคัญที่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และการถ่ายโยงการเรียนรู้
ทำให้เข้าใจความหมายของสุขภาพจิต
ทำให้ผู้ศึกษามีวิธีในการปรับตัว
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ได้จากการฝึกฝนหรือไดด้รับประสบการณ์มาจนทำให้เกิดการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
ทำให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์
ทำให้เข้าใจและรู้พื้นฐานของสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์
ทำให้เข้าใจการสัมผัสและการรับรู้
ทำให้ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ
ทำให้เข้าใจสิ่งสำคัญที่เกี่ยวกับกระบวนการเรียนรู้และการถ่ายโยงการเรียนรู้
ทำให้เข้าใจความหมายของสุขภาพจิต
ทำให้ผู้ศึกษามีวิธีในการปรับตัว
การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ได้จากการฝึกฝนหรือไดด้รับประสบการณ์มาจนทำให้เกิดการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้
มีทั้งหมด 3 ด้าน คือ
1. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) คือ
ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถทางสมอง ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความจำ
ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และประเมินผล
2. ด้านเจตพิสัย (Affective Domain ) คือ
ผลของการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงด้านความรู้สึก ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท ความรู้สึก
ความสนใจ ทัศนคติ การประเมินค่าและค่านิยม
3. ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) คือ
ผลของการเรียนรู้ที่เป็นความสามารถด้านการปฏิบัติ ครอบคลุมพฤติกรรมประเภท
การเคลื่อนไหว การกระทำ การปฏิบัติงาน การมีทักษะและความชำนาญ
องค์ประกอบสำคัญของการเรียนรู้
ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ คือ
ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ คือ
สิ่งเร้า (Stimulus)
การตอบสนอง (Response)
การเสริมแรง (Reinforcement)
ทฤษฎีการเรียนรู้
(Theory of Learning)
แบ่งได้ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1.ทฤษฎีกลุ่มสัมพันธ์ต่อเนื่อง
(Associative Theories)
2.ทฤษฎีกลุ่มความรู้ความเข้าใจ
(Cognitive Theories)
สรุป จิตวิทยา คือ เป็นการใช้วิทยาศาสตร์มาเกี่ยวข้องเกี่ยวกับเรื่องของกระบานต่างๆของจิตของสิ่งมีชีวิต เพื่อจะศึกษาทั้งพฤติกรรม ภายในและภายนอกหรือที่เรียกกันว่ากระบวนการทางจิตจะทำให้เข้าใจตัวเองและผู้อื่นได้ดีขึ้น และสามารถควบคุมพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ รวมถึงยังเป็นความรู้ให้แก่ผู้ที่ศึกษาสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาต่างๆทั้งกับตนเองและสังคมได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น